คุยกับ 2 คนรุ่นใหม่จากชายแดนใต้หรือปาตานี ที่มาทำงานในกรุงเทพฯ สะท้อนปัจจัยที่เป็นแรงผลักให้พวกเขามาเสี่ยงโชคที่นี่ จากโจทย์ความรุนแรงในพื้นที่ยิ่งซ้ำปัญหาเศรษฐกิจ อาชีพที่มีก็ไม่ตอบโจทย์
ลูกจ้างรายได้ที่ไม่แน่นอน ธุรกิจก็ไม่บริหารเป็นระบบ โควิดมายิ่งซ้ำเติมปัญหา ขณะที่ ‘เขตอุตสาหกรรม’ ก็ไม่สามารถดึงคนรุ่นใหม่อยากกลับไปทำงาน
Latest Post
นับตั้งแต่เกิดกระแสการเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยและการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ในปี 2563 เป็นต้นมา สิ่งหนึ่งที่เป็นปรากฏการณ์สำคัญคือความนิยมสื่ออิสระและสื่อท้องถิ่นที่มีมากอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนในโลกออนไลน์จากการนำเสนอข่าวประเด็นที่แหลมคมที่สร้างความหลากหลายให้สนามข่าวสาร
เสียงโหวกเหวก โวยวาย พร้อมกับการตะโกนขายสินค้าของพ่อค้าแม่ค้าหาบแร่ เป็นภาพชินตาของผู้โดยสารรถไฟมายาวนาน แต่ แล้วภาพเหล่านี้กลับหายไปหลังโควิดมาเยือน เพราะการรถไฟฯ ประกาศห้ามขาย ทำให้ทุกครั้งที่รถไฟจอด ณ ชานชลาไม่มีผู้คนรุมล้อมขายของริมหน้าต่างให้กับผู้โดยสารเหมือนเดิม แม่ค้าหาบแร่หลายคนจึงต้องงัดกลยุทธ์ใหม่ขึ้นมาเพื่อความอยู่รอดและเฝ้ารอวันให้ทุกอย่างกลับมาเหมือนเดิม
เป็นเวลากว่า 8 ปีที่แล้วที่ชาวด่านขุนทด โคราช ต้องทนทุกข์จากสารพิษใกล้เหมืองแร่โพแทส นานวันความเสียหายก็ลุกลามบานปลาย “ทุกวันนี้ผักปลาก็ต้องไปซื้อกิน ปลูกข้าวก็ยุบตายหมด ขนาดวัวยังหาหญ้าให้กินยากแล้ว บ้านก็พัง”
ยุคหนึ่งซอยข้างวัดมัชฌิมวาส จ.อุดรฯ หรือซอยหมอลำ เคยเฟื่องฟูและคึกคัก มีสำนักงานหมอลำไม่ต่ำกว่า 10 แห่ง เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนลูกค้าไม่จำเป็นต้องมาเจอผู้จัดการหมอลำตัวเป็นๆ แล้ว จึงทำให้สำนักงานที่นี่ทยอยล้มหาย
โดยเฉพาะช่วงโควิดก็ไม่มีงานแสดง ทำให้นักร้อง นักแสดง หมอลำ รวมถึงแดนเซอร์ที่เคยอาศัยอยู่ในชุมชนแห่งนี้ไม่มีงาน ไม่มีเงิน พวกเขาได้แต่เฝ้ารอว่า ชุมชนแห่งนี้จะฟื้นตัวกลับมาคึกคักอีกครั้ง
ชวนทำความเข้าใจปรากฎการณ์การการฟ้องปิดปาก หรือคดีรูปแบบ SLAPP จากสังคมโลกสู่บริบทไทย ผ่านมุมมองและงานศึกษาวิจัย ประเด็นมาตรการป้องกันการฟ้อง SLAPP ในบริบทธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ผลการศึกษาบ่งชี้ไทยอยู่ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ที่ใช้รูปแบบการดำเนินคดี SLAPP สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก และหากมองลึกลงไปแต
ผู้เขียน ณัฐฐา อัชฌานุเคราะห์ ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน
BANGKOK - The Isaan Record joined hands with The United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO), the United Nations Development Programme (UNDP), THECITIZEN.PLUS of Thai PBS, and the Embassies of the Netherlands, Finland, and New Zealand to launch the “Journalism that B
ถึงเวลาสื่อชายขอบจับมือสร้างสะพานลดความขัดแย้ง “จอมขวัญ หลาวเพ็ชร” ชี้สื่อเป็นสะพานเชื่อมคนเห็นต่าง เชื่อ“เวลา-กระแส-เทคโนโลยี” ทำสื่อส่วนกลางขยับหาสื่อทางเลือก “วาร์ตานี” ซัดสื่อส่วนกลางตราหน้าคน 3 จังหวัดเป็นโจรใต้ สร้างความชิงชังไม่รู้จบ “นักวิชาการ มอ.” มองสื่อเล็กสื่อน้อยเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศสื่อ-ข้อมูลข่าวสารสมัยใหม่